THE BEST SIDE OF ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The best Side of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The best Side of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

แม้ในแต่ละปีมีบัณฑิตที่จบการศึกษาเป็นจำนวนมาก แต่กลับไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งเป็นผลพวงมาจากระบบการศึกษาในปัจจุบันที่ไม่สอดรับกับความต้องการขององค์กรต่างๆ เนื่องจากระบบโครงสร้างทางการศึกษาไทย ทำให้นักเรียน หรือนักศึกษาขาดประสบการณ์ในการเรียนรู้ และการทำงาน 

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

สร้างความรับผิดชอบด้วยระบบรุ่นพี่ดูแลรุ่นน้อง 

บุคลากรในโรงเรียนบางแห่งไม่สามารถจัดสรรเวลาไปเยี่ยมบ้านนักเรียนยากจน หรือเลือกใช้วิธีสอบถามจากนักเรียนแทน เพื่อให้กรอกรายละเอียดเสร็จทันตามกำหนด ข้อมูลที่ได้จึงไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง

เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม รวมถึงภาคประชาชน ควรมีส่วนร่วมในการหาแนวทางแก้ไขให้ช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง เพื่ออนาคตที่ดีของเยาวชน และสังคมไทยในภายภาคหน้า

ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง

หากเราตั้งเป้าหมายว่าต้องการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กยากไร้ในทุกๆ กลุ่มให้เสมอภาคกัน เรื่องเหล่านี้ก็อาจกลายเป็นโจทย์สำคัญที่รัฐต้องหันมาทบทวนและค้นหาแนวทางการช่วยเหลือในอนาคต

ไม่มีระบบการตรวจสอบข้อมูลจากทางโรงเรียนก่อนกรอกในระบบ เกิดความคลาดเคลื่อน ไม่สมบูรณ์ของข้อมูล รวมถึงความเข้าใจผิดระหว่างทางการและโรงเรียน

ดร.ศุภโชค ปิยะสันต์ ที่ปรึกษาเครือข่ายชมรมนักจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา กล่าวถึงความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กที่กำลังจะเพิ่มจำนวนขึ้น แต่รูปแบบงบประมาณยังไม่เปลี่ยนแปลง

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นปัญหาที่อยู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน และแม้ว่าจะมีการพยายามออกนโยบายต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเด็ดขาด โดยนโยบายลดปัญหาในสถานศึกษา และแนวทางการแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีดังนี้ 

ประเด็นวิจัย การพัฒนาเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การพัฒนา

ปัตตานี ส่งเสริมคุณภาพการมองเห็นที่ดีของเด็กเยาวชน

Report this page